วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

การหาเวกเตอร์ลัพธ์

การรวมเวกเตอร์ หมายถึง การบวกหรือลบกันของเวกเตอร์ตั้งแต่ 2 เวกเตอร์ ขึ้นไป ผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณเวกเตอร์ เรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ (Resultant Vector) ซึ่งพิจารณาได้ ดังนี้

1.1 การบวกเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูป ทำได้โดยเขียนเวกเตอร์ที่เป็นตัวตั้ง  อ่านเพิ่มเติม

ปริมาณทางฟิสิกส์

ปริมาณ (Quantity)
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยายเชิงข้อมูลพรรณนา ตามสภาพการรับรู้ของมนุษย์  อ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่แนวตรง

แรงและการเคลื่อนที่
1. เวกเตอร์ของแรง
แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
ปริมาณทางฟิสิกส์ มี 2 ชนิด คือ  อ่านเพิ่มเติม

ค่าความไม่แน่นอน

ก่อนเริ่มการคำนวณจะต้องมีความเข้าใจว่าค่าความไม่แน่นอนของแต่ละ input นั้นจะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน และมีระดับของความเชื่อมั่นเดียวกันถึง
จะสามารถรวมกันเข้าไปได้ สิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจไว้ก่อนประกอบด้วย   อ่านเพิ่มเติม

การคูณและการหารเลขนัยสําคัญ

การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด เช่น

(1) 432.10 x 5.5 = 2376.55
ปริมาณ 432.10 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
5.5 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
ผลลัพธ์ 2376.55 มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 6 ตัว  อ่านเพิ่มเติม

การบวกลบเลขนัยสําคัญ

การบวกและการลบเลขนัยสำคัญ ให้บวกลบแบบวิธีการทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์ของเลขนัยสำคัญที่ได้ต้องมีตำแหน่งทศนิยมละเอียดเท่ากับปริมาณที่มีความละเอียดน้อยที่สุด เช่น


(1) 2.12 + 3.895 + 5.4236 = 11.4386
ปริมาณ 2.12 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 2
3.895 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3
5.4236 มีความละเอียดถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 4  อ่านเพิ่มเติม

เลขนัยสำคัญ

เลขนัยสำคัญ (significant figure) คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน (uncertainty) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่เราเลือกใช้ด้วย  อ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนหน่วย

ตัวอย่างการเปลี่ยนหน่วย

ตัวอย่างที่ 1 มวลขนาด 0.4 มิลลิกรัมมีขนาดกี่กิโลกรัม

วิเคราะห์โจทย์ เปลี่ยนมิลลิกรัม -----> กรัม -------> กิโลกรัม ตามลำดับ
จาก 0.4 mg = 0.4 x g
= g ( g = kg)
= kg
0.4 mg = 0.4 x kg
ดังนั้น 0.4 มิลลิกรัม มีขนาดเท่ากับ 0.4 x กิโลกรัม อ่านเพิ่มเติม

คำอุปสรรค



คำอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) ได้ เช่น ระยะทาง 0.002 เมตร เขียนเป็น เมตร แทนด้วยคำอุปสรรค มิลลิ (m)

ระบบหน่วยระหว่างชาติ


ระบบหน่วยระหว่างชาติ (The International System of Units หรือ The Systéme International d’ Unités) หรือ เอสไอ ประกอบด้วย หน่วยฐาน และหน่วยอนุพัทธ์
เชิญคลิกที่ภาพด้านล่างเพื่อเรียนรู้ประวัติ หน่วยฐาน และหน่วยอนุพัทธ์ในระบบหน่วยระหว่างชาติ  อ่านเพิ่มเติม